ห้องพระสไตล์บาริโอ

รีวิว ห้องพระสไตล์บาริโอ

ห้องพระสไตล์บาริโอ

ห้องพระสไตล์บาริโอ เป็นเรื่องที่มักจะมีคนสงสัยว่า เราสามารถตกแต่งภายในห้องพระ ได้รึเปล่า หรือ ทำได้เพียงตั้งโต๊ะ หมู่บูชาเอาไว้เท่านั้น สำหรับข้อนี้ ทางเราขอตอบว่า สถานที่ตั้งพระพุทธรูป ประจำบ้านนั้น ไม่ได้มีข้อกำหนดตายตัว เพียงแต่ควรอยู่ ที่ชั้นบนของบ้าน หรือ ตั้งไว้ให้สูงขึ้นมาจากระดับพื้น วิลล่าภูเก็ตที่ขาย

ทำให้เรื่องของการ ช่วยให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ สอดส่องดูแลบ้าน ได้อย่างทั่วถึงแล้ว ยังทำให้เรา ไม่ต้องไปรบกวนท่าน เมื่อต้องทำความสะอาดห้อง หรือ ระหว่างเดินไปมา อีกด้วยอีกหนึ่งอย่าง ของการยกฐานวางพระพุทธรูป ให้สูงก็ เพื่อให้เราสามารถ ใช้สอยพื้นที่ด้านล่าง

ภายใต้ในฐานพระเอาไว้เก็บของ เช่น หนังสือสวดมนต์ ธูป เทียน และ อุปกรณ์สำหรับบูชาอื่น ๆ นั่นเองสำหรับเรื่องอื่น ๆ เกี่ยวกับการจัดห้องพระ สามารถเข้าไป แอบดูเพิ่มเติมได้ที่ การจัดห้องพระ อย่างถูกวิธี และ ไอเดียการจัดห้องพระ โดยสามารถกดเข้าไป ที่ลิ้งค์ได้เลยค่ะ ในวันนี้ เราจะพาทุกท่าน ไปชมห้องพระ ที่เราคัดเลือกออกมา 3 สไตล์หลัก ๆ เพื่อเป็นไอเดีย ในการตกแต่งห้องพระ ของทุกคนกันค่ะ

รายการต่าง ๆ 

ดั้งเดิม มีมนต์ขลัง 

ห้องพระสไตล์บาริโอ

ภายในส่วนของห้องพระสไตล์ดั้งเดิม หรือ สไตล์ที่เน้นสีทอง พื้นหลังสีแดง ประดับไปด้วยลวดลายต้นโพธิ์ เป็นหนึ่งในสไตล์ ที่ได้รับความชอบมากที่สุด จากลูกค้า เนื่องจากเมื่อทำเสร็จสมบูรณ์ ออกมาแล้ว จะให้ความรู้สึกศักดิ์สิทธิ์ มีมนต์ขลัง ชวนให้รู้สึกจิตใจสงบและ รู้สึกได้ รับการปกป้องคุ้มครอง ในรายละเอียด ของงานออกแบบสไตล์นี้ ดีไซน์เนอร์

ดีไซน์เนอร์ และ สไตล์ ของเรามักจะออกแบบ ให้ตัวห้องมีโทนสีขาว เพื่อให้พื้นหลังสีแดง ที่ประดับไป ด้วยลวดลายต้นโพธิ์ ดูสวยงามโดดเด่น เป็นจุดนำสายตา ให้เราหยุดมองไป เพื่อเห็นฉากหลัง นี้อยู่เบื้องหลังพระพุทธรูป ที่ตั้งสง่า โครงการบ้านภูเก็ต

ภายในอยู่เบื้องหน้า บริเวณรอบ ๆ จะตกแต่งด้วยลายเส้น แนวตั้ง หรือ แนวนอนเป็นส่วนใหญ่ เพื่อให้ดูสบายตา อาจมีเพิ่มคิ้ว หรือ ขอบสีทอง หรือ เงินเข้ามาตกแต่งบ้าง เพื่อให้พื้นที่ดูภูมิฐาน อีกทั้ง ยังราวกับเป็นการ ให้เกียรติพระพุทธ รูปประจำบ้านของ เราอีกด้วย

หรูหรา สง่างาม

ห้องพระสไตล์บาริโอ

การตกแต่งห้องพระ ภายใน ไม่ได้จำเป็นต้องมีสีแดงเสมอไป อาจจะเป็นสีทอง หรือ อาจสงสัยกันว่า ทำไมถึงต้องเป็นสีแดง และ ไม่เป็นสีอื่น? ทั้งนี้ไม่ใช่ เพราะเอาอย่างตามเจ้าที่ จีนที่เป็นสีแดง และ เชื่อว่าสีแดง เป็นสิริมงคล แต่เพราะพระพุทธรูป นั้นเราเชื่อกันว่าท่านเป็นธาตุไฟค่ะ สีแดงก็เป็นหนึ่ง ในสีที่เป็นตัวแทน ของธาตุนี้นั่นเองแต่จริง ๆ

ในส่วนของตัวพระพุทธรูป ที่เป็นธาติไฟ ไม่ได้หมายความว่า พื้นที่โดยรอบต้องเป็นธาตุเดียวกันค่ะ ขอเพียงไม่เป็นธาตุน้ำ (เพราะน้ำไม่ถูกกับไฟ) สีและวัสดุอื่น ๆ ก็สามารถใช้ได้ค่ ะสำหรับห้องพระ ที่เรานำมายกตัวอย่าง ในหัวข้อนี้นั้น จะเน้นการตกแต่ง

ภายในห้องจะเป็นสีโทนเข้ม เพื่อให้เข้ากับ ตัวบ้านตัดกับสีทอง ที่ช่วยเพิ่มความหรูหรา และ สง่างามให้กับพื้นที่ สถิตย์ของพระพุทธรูปประจำบ้าน มีการเล่นกับขั้น และ ชั้นวางให้ดูโดดเด่น ทำให้เมื่อวางพระพุทธรูปลงไป แล้วดูสวยสง่ามากขึ้น

การใช้วัสดุอุปกรณ์ หลัก ๆ ที่มักจะนำมา ใช้ในงานออกแบบ นี้ก็ได้แก่ ไม้ พ่นหรือย้อมสี และ กระจก เพื่อเพิ่มมิติใหม่ ให้กับตัวพื้นที่ และ สามารถตั้งอยู่ใกล้ กับพื้นที่ห้องอื่น ๆ ได้เพราะสไตล์นั้น กลมกลืนไปกับงานออกแบบส่วนอื่น ๆ ของตัวบ้าน

เรียบง่าย จิตใจสงบ

มาดูอีกหนึ่งสไตล์ ที่เรามานำเสนอทุกท่านในวันนี้ ก็เป็นสไตล์ ที่เรียบง่าย และ ชวนให้จิตใจสงบ ด้วยการตกแต่งภายใน ที่เน้นให้ดูสงบนิ่งเรียบร้อย แต่งแฝงไปด้วยฟังก์ชัน การใช้งาน ที่ครบครันสำหรับลูกค้า บางท่านนั้นอาจมองว่า ห้องพระควรเป็นห้องที่มีสไตล์การตกแต่งที่เรียบง่าย ไม่หวือหวาจนเกินไป

แต่ในความเป็นจริงการที่เรามีดีไซน์เนอร์ ของเราเอง ก็ได้ตีความ และ ออกแบบห้องพระ ออกมาจากมุมมองดังกล่าว โดยห้องพระสไตล์นี้ นั้นจะดึงเอางานออกแบบสไตล์ Modern ที่เน้นการใช้รูปทรง เรขาคณิต และ โทนสีขาวเทาดำ ที่สร้างให้เกิดบรรยากาศเรียบหรู เข้ามาใช้ยกตัวอย่าง อาทิ

โดยเอาหลักการระนาบสี่เหลี่ยมผืนผ้า ร่วมกับทรงวงกลม และ ฐานสี่เหลี่ยมคางหมู ที่ดูสวยงาม และ เรียบร้อยในเวลาเดียวกัน หรือ จะเป็นห้องพระ ที่แม้จะมีพื้นหลัง เป็นต้นโพธิ์สีทองเหมือนกัน แต่ก็คุมโทน ให้เป็นพื้นหลังสีขาว ทำให้ดูสุภาพ และ ชวนให้ตั้งสมาธิได้สงบมากขึ้น

เจ้าที่ประจำบ้าน

เจ้าที่ประจำบ้าน

มาต่อกันที่เจ้าที่ประจำบ้าน แต่สำหรับบ้านที่มีเชื้อสายจีน แทนที่จะตั้งห้องพระ แล้วอาจจะตั้งเป็นเจ้าที่ ประจำบ้านแทน ซึ่งทั้งพระพุทธรูป และ เจ้าที่นั้นสามารถปกปักษ์รักษา คุ้มครองบ้าน ได้เช่นเดียวกัน หลายคนอาจชินตากับเจ้าที่สีแดง แต่จริง ๆ แล้วเจ้าที่ก็คือ สถานที่อยู่ของเทพเจ้า ประจำบ้าน เราสามารถเปลี่ยน รูปร่างหน้าตา ให้ต่างออกไป เพื่อให้เข้ากับตัวบ้านได้ ภายใต้ ‘สัดส่วนมงคล’ ที่จะเสริมสิริมงคล ให้แก่เจ้าบ้าน

มีห้องพระแล้วมีเจ้าที่ได้มั๊ย

สำหรับภายในห้องพระนั้น โดยมากจะอยู่ชั้นบนบ้าน หรือ บนที่สูง อย่างที่เคยได้กล่าวไป ส่วนเจ้าที่ หรือ ตี่จู่เอี๊ยะจะเป็นเทพเจ้าธาตุดิน นิยมตั้งไว้ติดพื้น หรือ บริเวณชั้นล่างของตัวบ้าน ทั้งพระพุทธรูปและเจ้าที่เป็นเทพเจ้าคนละองค์กันและสามารถอยู่ด้วยกันได้ (หากอยากทราบเรื่องราวของตี่จู่เอี๊ยะเพิ่มเติม สามารถเข้าไปอ่านได้ที่ เจ้าที่ตี่จู่เอี๊ยะ และงานออกแบบตกแต่งภายใน)

ขอแอบกระซิบนิดนึงว่าส่วนตัวแล้วที่บ้านอาม่าของผู้เขียนเองก็มีตั้งไว้ทั้งหิ้งพระและเจ้าที่ เวลากราบไหว้บูชาจะแยกของไหว้กันคนละส่วนกัน ในเรื่องนี้นั้นซินแสที่ผู้เขียนเคยได้พบเองก็ไม่ได้มีข้อห้ามว่าห้ามตั้งเอาไว้คู่กัน ดังนั้น หากเราสามารถดูแล ได้อย่างทั่วถึงเราก็สามารถตั้ง และ เชิญสิ่งศักดิ์สิทธิ์เทพเจ้าเข้ามาอาศัยอยู่และช่วยคุ้มครองเราได้นั่นเองค่ะ